บทนำ
รูููปแบบตัวอักษรไทยมีลักษณะเฉพาะ ที่แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของภาษาไทย ซึ่งมีความโดดเด่นและแตกต่างไปจากภาษาอื่นๆ และมีการพัฒนามาตลอดจนในปี พ.ศ. 2371 เป็นยุคที่มีการนำตัวอักษรไทย เข้ามาใช้ในการพิมพ์ โดยมีการพัฒนาให้มีความประณีตและสวยงามมากขึ้น ตลอดจนปี พ.ศ. 2385 ที่ได้มีการปรับปรุงรูปลักษณ์ของตัวอักษรอย่างชัดเจน โดยให้ตัวอักษรมีลักษณะเป็นแบบหัวกลมตัวเหลี่ยม การสร้างรูปแบบตัวอักษรในครั้งนี้ ได้เป็นแบบอย่างการพัฒนารูปแบบตัวอักษร จนถึงทุกวันนี้ การออกแบบอักษรประดิษฐ์ไทย เป็นตัวอักษรที่มีหัว ตัวเหลี่ยมและเป็นรูปแบบที่มาตรฐาน ทำให้การออกแบบตัวอักษรประดิษฐ์ Calligraphy เพื่อการออกแบบปกหนังสือ ที่เป็นภาษาไทยออกแบบได้ยาก เนื่องจากการออกแบบตัวอักษรประดิษฐ์ จะต้องคำนึงถึงเรื่องการอ่านที่ง่ายและต้องสื่อถึงอารมณ์และเป็นจุดเด่น น่าสนใจของรูปแบบ
องค์ประกอบของชนิด
คุณอาจจะสังเกตเห็นว่าคุณกำลังจะเปลี่ยน คุณสังเกตเห็น letterforms ที่แตกต่างกัน คุณอาจจะรู้สึกแตกต่างกันรอบตัวพวกเขา ไม่ต้องอายความรู้สึกเหล่านี้เป็นธรรมชาติ พื้นฐานไม่กี่สามารถช่วยให้คุณผ่านปีที่น่าอึดอัดใจ
อักษร
อักษรเป็น setofcharacters เดียวที่แบ่งปันความสามัคคีโวหาร อักษรมักจะประกอบด้วย ofletters ตัวอักษรตัวเลขเครื่องหมายวรรคตอนและการออกเสียงวรรณยุกต์
ตัวอักษร
typographers กำหนดตัวอักษรเป็นชุดตัวอักษรที่สมบูรณ์แบบของตัวอักษร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหนึ่งขนาด เมื่อทำชนิดก้าวกระโดดไปยังดินแดนดิจิตอลตัวอักษรกลายเป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ที่แสดงผลอักษรในทุกขนาด
ประวัติความเป็นมาและการจัดหมวดหมู่
ทุกคนมีอดีตที่ผ่านมา ในขณะที่บางสิ่งบางอย่างสามารถมองข้ามประวัติศาสตร์ชนิดไม่ได้หนึ่งของพวกเขา Pre-หน้าจอที่มีการตรวจสอบประวัติเล็ก ๆ น้อย ๆ และหลีกเลี่ยงมากของกระเป๋าเดินทางในภายหลัง
"ถ้าฉันสามารถจัดเรียงตัวอักษรที่ฉันจะจับ U และฉันอยู่ด้วยกัน."
รูปแบบและประเภทของตัวพิมพ์ที่ใช้ในปัจจุบัน
คือ ตัวปกติ/ตัวหนา/ตัวเอียง/ตัวหนาเอียง
รูปแบบและลักษณะของตัวอักษร สามารถจัดแบ่งได้เป็น 3 ระดับ
- Serif อักษรจะมีเส้นคล้ายๆ ขีด-เหลี่ยม
- Sans-Serif มีรูปร่างมนกลมและดูสวยงาม
- Monospaced บางครั้งเรียกว่า Typewriter Font เนื่องจากเป็นตัวอักษรที่ใกล้เคียงกับเครื่องพิมพ์ดีด
- script เป็นแหล่งรวบรวมของแบบอักษรทุกชนิดที่มีลักษณะพิเศษต่างๆ
- ตระกูล (Family) เป็นหมวดหมู่ที่ย่อยลงไปจาก Category แต่ตัวอักษรที่อยู่ในตระกูลเดียวกัน จะมีบรรพบุรุษร่วมกันดังตาราง
ตัวอักษรในงานพิมพ์
- ตัวปกติ (regular) มีลักษณะทั่วไป อ่านออกได้ง่าย ใช้กับงานย่อย หรือเนื้อหาทั่วไป
- ตัวหนา (bold) มีลักษณะทั่วไป แต่เข้มและหนากว่าตัวปกติ ส่วนมากใช้กับงานส่วนหัว
- ตัวเอียง (Itallc) เป็นตัวพิมพ์ที่เอียง มีลักษณะไม่ตรง เอนเอียงไปทางขวา
- ตัวหนาและเอียง (bold italic) มีลักษณะที่เข้มกว่าตัวเอียงปกติ ชัดเจนและน่าสนใจกว่า
สกุลตัวพิมพ์
ตัวพิมพ์ หากได้รับการออกแบบให้มีลักษณะมากกว่า 4 ลักษณะ จะเรียกว่า ไทพ์เฟส
- ตัวเส้นหนา (bold,boldface) เป็นตัวพิมพ์ที่มีเส้นหนา ทำให้งานออกแบบดูมีน้ำหนักและความหนาแน่น
- ตัวเส้นหนัก (medium face) เป็นตัวพิมพ์ที่มีเส้นหนาน้อยกว่าตัวเส้นหนา นำไปใช้เช่นเดียวกับเสีนหนา
- ตัวพิมพ์เนื้อเรื่อง (bookk face) หรือ ตัวปกติ (normal face) มีเส้นขนาดปานกลาง ง่ายต่อการอ่าน
- ตัวเส้นบาง (light,lightface) และตัวเส้นบางมาก (extralight face) ดูมีน้ำหนักบางและเบา
รูปภาพเปรียบเทียบความต่างระหว่าง font regular พิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก
รูปภาพเปรียบเทียบความต่างระหว่าง font italic พิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก
รายละเอียดตัวพิมพ์
แหล่งศึกษาข้อมูล
การเรียนรู้จากหนังสือ อิเล็กทรอนิก ISSUU.com
- Mevum (font speacial man)
- Font Book (meet your type)
การเรียนรู้จากหนังสือ ภาษาไทย
- หนังสือ อักษรประดิษฐ์ : Lettering Design ผู้เขียน วรพงศ์ วรชาติอุดมพงศ์
- หนังสือ การออกแบบอักษรและสิ่งพิมพ์ ผู้เขียน ประจักษ์ พรประเสิรฐถาวร
- หนังสือ การออกแบบสิ่งพิมพ์ ผู้เขียน ผศ.อารยะ ศรีกัลยาณบุตร
แปลสรุปโดย
นางสาวศุลีมาส เรืองสวัสดิ์
รหัสนักศึกษา 5611301788 กลุ่มเรียน 101
E-mail : suleemas.kk@gmail.com
Publish : http://artd2304-suleemas.blogspot.com
รายงานวิชา ARTD2304 การออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์